esport league ยอดพีระมิด

          หากเป็นคนในวงการเกมนั้น esport league ยอดพีระมิด ก็ถือว่าเป็นหนึ่งในจุดสูงสุดของอาชีพในฐานะนักแข่งเกมเลยที่เดียว และอีกอย่างหนึ่งอาชีพของนักแข่งขันกีฬาอีสปอตนั้นไม่ได้ยาวนานอย่างที่ทุกคนคิด

นั้นก็เพราะว่าในชั่วอายุของคนหนึ่งนั้นหากบอกว่าการเสื่อมสภาพของร่างกายเกิดขึเนเมื่อใด บางคนก็ตอบว่าอายุ 40 บางคนก็ตอบว่าอายุ 50 ขึ้นไปบาง แต่มนวงการการแข่งขัน esport league นั้นไม่ได้เป็นเช่นนั้น เพราะว่าปฏิกิริยาตอบสนองเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับนักกีฬาอีสปอต

การตัดสินใจชั่วพริบตาก็สำคัญอีกด้วย เพราะฉะนั้นอายุ 25 คือขีดเส้นของอาชีพนักกีฬาอีสปอต เพราะเป็นช่วงเวลาที่มีการวิจัยว่าสามารถรีดเร้นศักยภาพของร่างกายก่อนที่อัตราการตอบสนองนี้นั้นจะช้าลง แต่นั้นเองก็ใช้ไม่ได้ในฐานะคนที่ฝึกฝนหนักเป็นอย่างมาก ใช้ความพยายามเข้ามาแทนที่เพื่อลดจุกเสื่อมเช่นนี้

และการแก้ไขอีกอย่างคือการใช้ประสบการณ์เข้ามาช่วยคาดการการเคลื่อนไหวและแผนการของอีกฝ่ายและเอาตัวเองไปอยู่ในจุกที่ถูกที่ถูกเวลา ในแต่ละครั้งซึ่งก็มีนักกีฬาวัย 30 อัพก็ยังสามารถอยู่ในวงดารนี้ได้อย่างยาวนาน และไม่มีใครลบตำนานหรือกล้าดูถูกความสามารถของเขาเลยทีเดียว

esport league ยอดพีระมิด

esport league ยอดพีระมิด

          เพราะความรู้เหล่านี้ที่อยู่ในวงการทำให้เหล่านักกีฬา esport league พยายามฝึกซ้อมฝีมือตนเองตั้งแต่ยังไม่เข้าวงการและพยายามทำให้เฉียบคมตลอดเวลา และเมื่อถึงเวลาของตนเองที่ได้ดข้าไปวาดลวดลาย และเอาความพยายามของตัวเองผลักดันให้ตัวเองนั้นถึงจุดสูงสุด

แต่นั้นตะเกี่ยวอะไรกับยอกพีระมิด นั้นเพราะว่าในทุกๆการแข่งขันเราต้องการผู้ชนะเพียงแค่ 1 เดียว ไม่ว่าจะตัวคนเดียวหรือทีมเดียว สโมสรเดียว ส่วนสโมสรอื่นๆ คนอื่นๆ ก็คือมือรอง และการขนะก็หมายถึงโอกาสและเม็ดเงินที่จะเข้ามา หรือการต่อยอดใน esport league ที่สูงขึ้น

แต่การพลาดผลั้งกรือการผิดหวังก็ไม่ใช่สิ่วที่ทำมห้พวกเข้ายอมแพ้เพราะ esportleague นั้นมีอีกมากมายหลายหลีกที่เกิดขึ้นมามีช่องทางการสนับสนุนและการพัฒนาตนเองไปได้หลากหลายแขนงตามแต่ความสามารถของแต่ละคน

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

เครดิต ufa168

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *